ผลงานเขียน : หนังสือ
![]() |
330 ว296ล [2541] สารบัญ : รู้จักเศรษฐศาสตร์ -- โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี -- พฤติกรรมมนุษย์มีเหตุมีผลเสมอ? -- จะเอา "ประสิทธิภาพ" หรือ "ความยุติธรรม"? -- ชีวิตมนุษย์ก็มีป้ายราคา -- Growth ของเศรษฐกิจนั้นเป็นไฉน? -- การลงทุนจากต่างประเทศ ยาเสพย์ติดที่ขาดได้? -- อัตราเงินเฟ้อ แต่ละคนแต่ละความหมาย -- การว่างงาน อภิปัญหาของสังคมพัฒนา -- รวยได้นั้นยาก รวยให้ตลอดยิ่งยากกว่า -- นักช็อปปิ้งไทยระบือโลก We Shop Till We Drop (Dead) -- ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด...แล้วมันกระทบคนเดินถนนอย่างไร? -- เสียศูนย์...เสียสมดุล...คือรากเหง้าของปัญหา -- Soros รวยจากค่าเงินบาทไทยอย่างไร? -- หลายคำถามในห้องเรียนเศรษฐศาสตร์ไทย -- IMF "ปีศาจ" ที่น่ารัก? -- ลดดอกเบี้ยช่วยเศรษฐกิจได้ แต่ทำไมถึงไม่ลดลง? -- พิมพ์ธนบัตรเพิ่มเพื่อแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ? -- บริจาคทองเพื่อกู้ชาติ ความสับสนบนความปรารถนาดี -- เจาะลึกพฤติกรรมของ Fund Managers -- ชิงแชมป์มวยโลกรายอาทิตย์ -- ปรากฏการณ์ของกระแสเศรษฐกิจ -- เศรษฐศาสตร์อธิบาย ทำไมมนุษย์จึงชอบโกหก? -- น้ำท่วมกับความเป็นธรรมแก่ "ผู้เสีย" -- ตำรวจเฝ้าร้านทองผิดตรงไหน? -- เศรษฐศาสตร์อธิบาย "ปล้นธนาคาร" --ถึงคาดเข็มขัดนิรภัยก็มีภัยอยู่ใกล้ตัว -- ค่าเช่าทางเศรษฐกิจอธิบายคอร์รัปชั่น -- ชีวิตและเศรษฐกิจไทยในปี 2544 |
![]() |
330 ว296ล [2543] สารบัญ : นักเศรษฐศาสตร์ คนเลือดเย็นที่มีหัวใจอ่อนโยน -- ถ้าไม่ขาดแคลน...ก็ไม่ใช่ปัญหาเศรษฐศาสตร์? -- กฎ 10 ข้อ อธิบายเศรษฐศาสตร์ -- อย่าสับสน Ends และ Means -- เหตุใดนักเศรษฐศาสตร์จึงมักเห็นไม่ตรงกัน? -- ราคามีอิทธิพลต่อการใช้ทรัพยากร -- เศรษฐศาสตร์คิดแบบ "เพิ่มทีละน้อย" -- "เงินเฟ้อ" เลวร้ายกว่าไฟไหม้บ้าน -- ดอกเบี้ยมิใช่การขูดรีด -- Privatization มิใช่แปรรูปรัฐวิสาหกิจ? -- ผลกระทบภายนอก Concept เศรษฐศาสตร์ที่พึงรู้จัก -- พิมพ์ธนบัตรเพิ่ม = ปริมาณเงินเพิ่ม? -- โศกนาฏกรรมของการใช้ทรัพยากรร่วมกัน -- ทฤษฎีลูกโป่งของอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ -- Tobin Tax ช่วยลดความปวดร้าว -- เหตุใดกองทุนฟื้นฟูจึงสวมวิญญาณ Monster? -- ทำไมต้องกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยเงินกู้นอก? -- แผนฟื้นฟูระบบสถาบันการเงิน เขาทำอะไรกัน? -- แก้กฎหมายเศรษฐกิจเพื่ออะไร เพื่อใคร? -- Krugman - Hanke - IMF จะเอายาขมหม้อไหน? -- IMF ยอมสารภาพบาป? -- จะให้ "ออม" หรือ "ไม่ออม" กันแน่? -- เศรษฐกิจเลวร้ายสุดเป็นอย่างไร? -- "GDP รายไตรมาส" สร้างความสับสน -- Deflation กำลังเกิดขึ้นในเศรษฐกิจไทย? -- โอเปครวมหัวขึ้นราคาเพื่อแตกสลาย -- คอร์รัปชั่น = ผูกขาด + อำนาจใช้วิจารณญาณ - ควารับผิด -- WIN-WIN ช่วยให้ "ผู้แพ้" เป็น "ผู้ชนะ" -- หาประโยชน์จากเครือข่าย "ซาเล้ง" -- "เศรษฐกิจใต้ดิน" อาวุธลับเศรษฐกิจไทย? -- อมาร์ตยา เซ็น : นักเศรษฐศาสตร์เอเชียรางวัลโนเบลคนแรก ล็อตเตอรี่คือภาษีคนจน -- โอกาสไปไม่รอดของเงินยูโร |
![]() |
330 ว296ล [2545] สารบัญ : ตอบคำท้า "ของฟรีไม่มีในโลก?" -- ความมหัศจรรย์ของกลไกราคา -- ทรัพยากรเป็นสิ่งน่าหวงแหน -- เศรษฐกิจที่มีประสิทธิภาพ สำคัญอย่างไร? -- เงินทองของมายา ข้าวปลาสิของจริง -- Productivity สร้างความกินดีอยู่ดีอย่างไร? -- ข้อแตกต่าง Stock และ Flow มีความสำคัญ -- ภาษีหลายมุมให้คิด -- ว่าด้วย Transaction Costs -- Sunk cost ช่วยการตัดสินใจ -- ว่าด้วย ต้นทุนแอบแฝง -- Non-Zero-Sumness อีกหนึ่งความลับแห่งชีวิต -- ระบบการสะสมความมั่งคั่ง สร้างจุดเปลี่ยนประวัติศาสตร์ -- โลกาภิวัตน์เป็นปรากฏการณ์ ไม่ใช่อุดมการณ์ -- ทางโน้มของโลกในช่วงเปลี่ยนผ่านสู่สหัสวรรษใหม่ -- New Economy ของจริง หรือ ฟองสบู่? -- เศรษฐกิจ ประเทศไทย และ IT -- นักเศรษฐศาสตร์มีงานหนักใต้ "คลื่นลูกที่สาม" -- E-commerce สำคัญแต่ไม่ใช่ทูตสวรรค์ -- เมื่อ Information Economy จากไป Bioeconomy จะมาแทน -- เรื่องน่ากังวลของโลกต้นสหัสวรรษใหม่ -- จะแก้วิกฤตเศรษฐกิจก็ต้องยอมจ่ายราคา -- ทำไมต้องกู้เงินต่างประเทศ? -- ทำไมไม่แก้วิกฤต โดยใช้เหรียญสหรัฐแทนสกุลท้องถิ่น? -- ไขความสับสนของหนี้สาธารณะไทย -- ดัชนีหุ้นไทยสำคัญอย่างไรต่อสภาวะเศรษฐกิจ? -- "ฟื้นฟูเศรษฐกิจ" ไม่ใช่เรื่องของกรุงเทพมหานคร -- มารู้จัก Inflation Targeting -- "เบี้ยกุดชุม" ควรรับดอกไม้หรือก้อนอิฐ? -- แน่ใจหรือว่า นักสิ่งแวดล้อมถูกต้อง? -- ปราบปรามยาเสพติดก็มีโทษต่อสังคม? -- เศรษฐศาสตร์กับโทษประหาร |
![]() |
330 ว296ล [2546] สารบัญ : ศาสตร์แห่งความหดหู่และสิ้นหวัง -- ทดสอบการอ่านออกเขียนได้ทางเศรษฐศาสตร์ -- มองพฤติกรรมมนุษย์ด้วยแว่นเศรษฐศาสตร์ -- เรียนเศรษฐศาสตร์ด้วยตำราเชิงนวนิยาย -- สามัญสำนึกทางเศรษฐศาสตร์ -- ว่าด้วยส่วนเกินผู้บริโภค -- ทุนทางสังคมฝังอยู่ในตัวแต่ละคน -- ธาตุแท้คำพยากรณ์เศรษฐกิจ -- ว่าด้วยสารสนเทศอสมรูป --Thaksinomics นั้นเป็นไฉน -- อย่าทำลายวินัยการเงินการคลัง -- "กระตุ้นเศรษฐกิจ" แก้ไขวิกฤตได้? -- ว่าด้วย National AMC -- หนี้สาธารณะสูงไม่ดีอย่างไร -- เรื่องของดอกเบี้ยเจ้าปัญหา -- ปัญหาเศรษฐกิจมิได้แก้ด้วยมาตรการเศรษฐกิจเท่านั้น -- สองดาบเคลิบเคลิ้มของสังคมไทย -- Gemomics มีอิทธิพลต่อโลก -- Ginger สิ่งประดิษฐ์ลึกลับของโลก -- Segway ประดิษฐ์กรรมใหม่เปลี่ยนแปลงโลก -- Hydrogen economy -- จะ "รวยเพื่อจน" หรือ "จนเพื่อรวย"? -- สอนลูกจัดการเรื่องเงินอย่างไร? -- จะเป็นคน "ดูรวย" หรือ "รวยจริง" -- เศรษฐีจริงดำเนินชีวิตอย่างไร -- กินอยู่อย่างไรไม่ให้เดือดร้อน -- ความหรูหรามีราคาแพง -- ตัดสินใจอย่างไรไม่ให้ปวดใจ -- เรียนเศรษฐศาสตร์จากบ่อกุ้งในนาข้าว -- โรควัวบ้าช่วยคนเลี้ยงไก่ไทย -- ตีค่าชีวิตเหยื่อ "11 กันยายน" อย่างไร -- เจ้าภาพฟุตบอลโลกปี 2002 ไม่ได้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ? -- ทำไม Speed Camera จึงมีประสิทธิภาพกว่าตำรวจ -- เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยตู้หยอดเหรียญ |
![]() |
330 ว296ล [2554] สารบัญ : Homo Sapiens VS Homo Economicus -- เข้าใจเศรษฐศาสตร์ด้วยจิตวิทยา -- Neuroneconomics เปิดมิติใหม่ทางเศรษฐศาสตร์ -- ต้นทุนต่ำ อธิบายพฤติกรรมมนุษย์ -- เงินออม อาชญากรรม และพฤติกรรมมนุษย์ --ได้เงิน กับ เสียเงิน มนุษย์พอใจหรือเจ็บปวดมากกว่ากัน? -- เหตุใดหญิงจึงอายุยืนกว่าชาย -- จริงหรือที่สุขมากขึ้นเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น -- ความสุข การทำงาน และภาษี -- Mental accounting ทำให้สุรุ่ยสุร่าย -- The present ของขวัญที่ต้องหาด้วยตนเองเท่านั้น -- หัวใจมีความสุข เมื่อเต้นให้คนอื่น -- คิดอย่างไรไม่ให้ถูกหลอก -- หาประโยชน์จากกฎ 80/20 -- การกระทำหนึ่งย่อมก่อให้เกิดผลอีกหลายอย่างเสมอ -- ถ้าข้อผิดพลาดสามารถเกิดได้...มันจะเกิด... -- ระวัง Hubris ดอกไม้เคลือบยาพิษ -- ทำไมคนเก่ง-ฉลาด มักผิดพลาด -- ใครเอาขนมของผมไป? -- จะซื้อพันธบัตรดีหรือไม่? -- ก้อนอิฐ และ ดอกไม้ ของภาษีมรดก -- อันดับคอร์รัปชั่นของไทย -- บิดเบือนราคาน้ำมัน=บิดเบือนการตัดสินใจ -- ใจเย็นๆ แล้วราคาน้ำมันก็จะลดลงมาเอง? -- ทำอย่างไรไม่ให้ตกขบวนหุ้นร้อนแรง -- ทุนสำรองระหว่างประเทศเกินพอดี-อันตราย -- การพนันเสรีมีเรื่องให้ใคร่ครวญ -- กลัวตกนรก ช่วยให้เศรษฐกิจเติบโต? -- เศรษฐศาสตร์อธิบายกลุ่มหัวรุนแรงทางศาสนา -- พนันบอลอย่างเข้าใจโลก -- ผลสำรวจจากโพลคือ "มติมหาชน"? -- เทคโนโลยีใหม่ผลิตไวน์ สร้างสรรค์หรือทำลาย? -- กล้วย ที่มิใช่เรื่องกล้วยๆ -- เหตุใดเลี้ยงแบบบุฟเฟ่ต์จึงสูญเปล่ากว่าปกติ |
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2550). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี 6 ศาสตร์แห่งความหดหู่. กรุงเทพฯ : มติชน. สาระสังเขป : "โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี" ความรู้สึกแรกที่ได้ยิน คือทั้ง 'หดหู่และสิ้นหวัง' เพราะทุกคนต่างชอบของฟรี และเคยรับของฟรีกันมาแล้วทั้งนั้น แต่พอได้รับการอธิบายตามหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์ จึงได้รู้ว่า ของฟรีที่เราเคยได้มานั้นไม่เป็นจริงเลย เพราะเวลาเราได้อะไรมา ขณะเดียวกันก็สูญเสียอะไรบางอย่างไป นับเป็นสัจธรรมที่ทดท้อแท้จริง "ศาสตร์แห่งความหดหู่และสิ้นหวัง" ในเล่มที่ 6 นี้ จะพาคุณไปค้นหาความจริง ด้วยเรื่องมือที่เรียกว่า 'เศรษฐศาสตร์' ความง่ายและธรรมดา ซึ่งเป็นธรรมชาติของมนุษย์ยังเป็นหลักในการนำเสนอ ผู้เขียนได้อธิบายทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเราด้วยภาษาไร้กลิ่นวิชาการ ไร้อาการเวียนหัว แบบที่ใครก็อ่านได้ เรื่องที่ดูยากก็กลับง่ายอย่างไม่น่าเชื่อ และอ่านสนุกเช่นเดิม |
![]() |
330 ว296ล [2554] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2554). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี 7 สนุกกับของไม่ฟรี. กรุงเทพฯ : มติชน. สารบัญ : ตัววัดเศรษฐกิจแบบชาวบ้าน -- การตลาดแบบ ประสบการณ์ อยู่ทุกแห่งหน -- เงินลวงตาได้มากกว่าหัวใจ -- ผู้บริโภค สู้โว้ย -- เรื่องธรรมดาๆ ที่มี ราคาแทรก -- ยอมกัดลิ้นเพื่อปราบผี -- เรื่องเล่าเติมวิตามินสมอง -- ความโลภครั้งสุดท้ายกับสึนามิ -- RFID กับการดำเนินชีวิต -- กงจักร ดอกบัวและเจ้าอาวาส -- คำถามคันหัวใจ -- คำถามที่ไม่กล้าถามหมอ -- ชีวิตเป็นเรื่องของการเลือก -- ลดค่าทางด่วน และหนองหมาว้อ -- ตัดผมสไตล์ 7-11 ของญี่ปุ่น -- บริษัทยาลวงโลก -- ถึงอ่านไม่ออกก็เป็นโค้ชได้ -- รายได้คือน้ำตานักมวย -- ทำไมเศรษฐีจึงหมดตัวได้ -- ทำนาบนหัวคน -- เหลือเวลาอยู่บนโลกนี้อีกกี่ปี -- สมบัติมันต้องผลัดกันชม -- รักต้องไม่อ้วน สำหรับสาวเอเชีย -- มนุษย์ไร้ลายนิ้วมือ -- อย่ายื่นหน้าให้คนอื่นชก -- โหวต SMS เป็นเรื่องตลก -- ตับห่านกำลังสู้กับหูฉลาม -- เรื่องของหมาที่น่าคิด -- จงยุติความรุนแรงต่อเด็กและสตรี -- ดูแลครรภ์ให้ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง -- หาความสุขจากชีวิตอย่างไร -- ข่าวดีและข่าวร้ายของคนกินเหล้า -- ชะตากรรมของเงินพนันในการแทงฟุตบอล -- ทำอย่างไรเมื่อถูกดุว่า -- รู้จักหวยแล้ว จงหลีกให้ไกล -- สุสานรถยนต์หน้าสถานีตำรวจ -- ผูกโบเหลืองไว้รอบต้นโอ๊ก -- ระวัง กับดักความรวย -- รวยจนต่างกันแค่ 2 บาท -- มนุษย์ตัดสินใจผิดเพราะเป็น มนุษย์ |
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2553). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี 8 เงินทองของมายา. กรุงเทพฯ : มติชน. สาระสังเขป : มนุษย์ขับเคลื่อนด้วยเงินตรา ของทุกอย่างมีราคาและแน่นอนที่สุด คือ ไม่มีอะไรได้มาฟรี มุมมองต่อเงินทองมีหลากหลาย เช่น เห็นเงินเรียกน้องเห็นทองเรียกพี่ งานคือเงินเงินคืองานบันดาลสุข เงินทองของนอกกายไม่ตายหาใหม่ได้ ฯลฯ ไม่ว่าจะมีวิสัยทัศน์เรื่องเงินๆทองๆในมุมใดย่อมก่อให้เกิดวิถีปฏิบัติแตกต่างกันไป
|
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2553). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี 9 ราคาคือของจริง. กรุงเทพฯ : มติชน. สาระสังเขป : เศรษฐศาสตร์ฉบับดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ได้ให้ความรู้ ความเข้าใจคนไทยมากกว่า 10 ปี ในหนังสือชุด “โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี” ซึ่ง “ราคาของจริง” คือหนังสือลำดับที่ 9 นำเสนอเรื่องที่อ่านสนุกควบคู่กับได้สาระ เช่น - นำ “เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม” อธิบาย การตัดสินใจของมนุษย์, ความหมายของการโกหก, กำไรของคนหน้าตาดี, การติดสินบนลูกทำให้เรียนดีขึ้น ฯลฯ - การบริหารจัดการค่าใช้จ่ายของสายการบิน, โรงแรม, มหาเศรษฐี ฯลฯ -วิเคราะห์ปัญหาและทางแก้จากวิกฤตเศรษฐกิจโลก อาทิ ราคาเงินดอลล่าร์ตกลงเพราะนิสัยของคนอเมริกัน, แง่ดีของภาวะ “เงินเฟ้อ” ช่วยแก้หนี้สาธารณะที่ขึ้นสูงได้ ฯลฯ - ความรู้เรื่องกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง, เปรียบเทียบคุณค่าของพืชที่เป็นทั้งอาหารและพลังงานเชื้อเพลิง, ธุรกิจค้าอวัยวะ “ไต” ฯลฯ ภาพรวมของเนื้อหาเน้นที่ความหมายเชิง “คุณค่า” ที่ซ่อนอยู่ในรูปแบบ “ราคา” |
![]() |
330 ว296ล [2555] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2555). โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี 10 รวยเงินจริง รู้เงินแสร้ง. กรุงเทพฯ : มติชน. สารบัญ : เงินและความสุขจาก Adam Khoo -- ราคากับของไม่จริง -- "เงินจริง" กับ "เงินแสร้ง" -- สามัญสำนึกทางเศรษฐศาสตร์ -- กล้องปลอมกับการป้องกันอาชญากรรม -- ดุลยภาพ ค่าจ้าง และความสุข -- สะสมทุนด้วยบ้านเก่า -- มีสติก่อนเสียทรัพย์ -- สายการบินกับโรงแรมราคาถูก -- ฟิลิปปินส์แย่งชิง Call Center -- แก้โรค "ติดข้าว" -- ราคาหยกพุ่งสูงกว่าทอง -- ไข่มุกจีนครองโลก -- kiwifruit เป็นผลไม้จีน -- นวัตกรรมอาหาร Dots -- The rothschild Effect -- กว่าจะเกิดก็สายไปแล้ว -- มดลูกให้เช่า -- หนังสือธุรกิจดีที่น่าอ่าน -- เงินเฟ้อราคาอาหารและน้ำมัน ราคาอาหารและม้าขาว -- กรีซกับค่าเช่าทางเศรษฐกิจ -- Inside Job อธิบายวิกฤตเศรษฐกิจโลก -- ปานามาจะเป็น Latin Singapore -- ภัยพิบัติทำลายเศรษฐกิจญี่ปุ่น? -- สัมพันธ์ไทย-จีน-อาเซียน -- เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : จาก Thailand to Siam -- หนี้สินครูก้าวกระโดด -- อำลาอาจารย์ James Ingram -- รักดอกจึงบอกบัณฑิต |
![]() |
089.95911 ว296บ [2547] สาระสังเขป : เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักอ่านตัวยง อ่านทุกวัน อ่านหลากหลาย อ่านมาก อ่านเร็ว และอ่านเป็น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ ใจกว้างอย่างยิ่ง สนุกกับการเรียนรู้อย่างยิ่ง มากความสนใจอย่างยิ่ง ต่อสาขาวิชาหลากหลาย ไม่เฉพาะวิชาการเศรษฐศาสตร์ที่หลอมรวมเป็นตัวตนของเขาเท่านั้น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักเล่าเรื่องตัวยง ชอบเล่า ชอบสอน ที่สำคัญ เล่าสนุก สอนสนุก มากด้วยสีสัน
|
![]() |
089.95911 ว296ด [2547] สาระสังเขป : เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักอ่านตัวยง อ่านทุกวัน อ่านหลากหลาย อ่านมาก อ่านเร็ว และอ่านเป็น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ ใจกว้างอย่างยิ่ง สนุกกับการเรียนรู้อย่างยิ่ง มากความสนใจอย่างยิ่ง ต่อสาขาวิชาหลากหลาย ไม่เฉพาะวิชาการเศรษฐศาสตร์ที่หลอมรวมเป็นตัวตนของเขาเท่านั้น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักเล่าเรื่องตัวยง ชอบเล่า ชอบสอน ที่สำคัญ เล่าสนุก สอนสนุก มากด้วยสีสัน
|
![]() |
089.95911 ว296ฟ [2547] สาระสังเขป : เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักอ่านตัวยง อ่านทุกวัน อ่านหลากหลาย อ่านมาก อ่านเร็ว และอ่านเป็น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ ใจกว้างอย่างยิ่ง สนุกกับการเรียนรู้อย่างยิ่ง มากความสนใจอย่างยิ่ง ต่อสาขาวิชาหลากหลาย ไม่เฉพาะวิชาการเศรษฐศาสตร์ที่หลอมรวมเป็นตัวตนของเขาเท่านั้น เป็นความโชคดีของผู้อ่านที่ วรากรณ์ สามโกเศศ เป็นนักเล่าเรื่องตัวยง ชอบเล่า ชอบสอน ที่สำคัญ เล่าสนุก สอนสนุก มากด้วยสีสัน
|
![]() |
808.84355 ว296น [2548] สาระสังเขป : บทความในหนังสือชุดนี้รวบรวมจากข้อเขียนใน "มติชนรายวัน" และ "มติชนสุดสัปดาห์" โดยเลือกสรรเรื่องที่ไม่เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์โดยตรง สำหรับบทความอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเขียนในสไตล์ที่ไม่ต้อง "แบกบันได" มาอ่านก็รู้เรื่องนั้น ได้รวมรวบไว้แล้วในหนังสือ "โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี" ทั้ง 3 ภาค "ขาดทุนคือกำไร" "ถูกสุดคือแพงสุด" ของสำนักพิมพ์มติชน และอีกหลายเล่มที่จะทยอยออกในอนาคต |
![]() |
089.95911 ว296ท [2552] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2552). Tips. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊ค. สารบัญ : ชนะศึกเวหาด้วยเศรษฐศาสตร์ -- เก็งกำไรชา "ผูเอ้อ" -- ราคาไม่จำต้องสูงขึ้นตามต้นทุน -- ค่าธรรมเนียมการจราจรติดขัด -- สิ่งประดิษฐ์เลิศสุดแห่งปี -- อเมริกัน BUZZWORD
|
![]() |
089.95911 ว296ท [2552] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2552). Trend. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊คส์. สารบัญ : เศรษฐีพันล้านที่ยากจน -- ได้-เสีย และรูปแบบสินค้า -- Kleenex ถึงเป็น "แรก" แล้ว ก็ยังต้อง "แตกต่าง" -- ขอทาน อุปสงค์ และอุปทาน -- ปัญหารถติดกับ "จ๊อกกี้" -- ตายแล้วก็แต่งงานได้ -- พรากเด็กจากอกพ่อแม่ -- "เหาะ" แหกคุกยุโรป -- ต้มตุ๋นอย่างไรให้เปี่อยยุ่ย -- ต้มตุ๋นสไตล์ PONZI -- บาร์โคดอายุครบ 35 ปี -- แบตเตอรี่คืออุปสรรคของรถยนต์ไฟฟ้า -- ดื่มน้ำ 8X8 เป็นประโยชน์จริงหรือไม่? -- ลดน้ำหนัก สุขภาพ และไข้หวัด 2009 -- "AMERICA" มาจากชื่อใคร -- นาฬิกา SWISS-MADE ผลิตจากที่ไหน -- อูฐคือสิงห์ทะเลทราย -- ฆ่าหมีขาวเพื่ออนุรักษ์ -- เรื่องเล่าของเห็ด TRUFFLE -- SLAMBALL กีฬาใหม่ -- หญิงช้ำใจเพราะเกิดปีมะเมีย -- "กินเด็ก" สู้กับ "วัวแก่กินหญ้าอ่อน" -- ชีวิตชายไทยนั้น "เปราะบาง" กว่าหญิงนัก -- ชะตากรรมคนผิวนอก -- สายพันธุ์อารยันกับ MAZI -- ทีมฟุตบอลจีนยังสิ้นหวัง -- แบกแดดกับโรคกลัวน้ำ -- LIBERIA ให้บทเรียนจากประวัติศาสตร์ -- เรียกค่าไถ่สไตล์ COLOMBIA -- ญี่ปุ่นเชื่อกรุ๊ปเลือดและอุปนิสัย -- เวรกรรม อุ้มฆ่า ตามล่าไม่หยุด -- YUNUS ผู้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ -- STIGLITZ นักเศรษฐศาสตร์ผู้โด่งดังนอกบ้าน -- อาลัย WALTER CRONKITE -- ลาก่อน STEVE คนห่ามผู้รักโลก |
![]() |
089.95911 ว296ท [2553] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2553). Third eye. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : Openbooks. สารบัญ : Trird eye ตาที่สามแห่งปัญญา -- ซิซู ขาดสติ -- ผ่าตัดเปลี่ยนหน้ากับเศรษฐศาสตร์ -- รวยอย่างไรให้ถึงหลาน -- มือถือ ทำได้สารพัด -- โลกคลั่งปริศนา Soduko -- Airbus A350 สู้ Boeing 787 -- คู่แข่งขันสำคัญของฟุตบอลโลก -- เศรษฐศาสตร์บ้านผีสิง -- ทำนาบนหลังอูฐ -- กีฬาสู้วัว เสื่อมมนต์ -- อังกฤษเวอร์ชั่น ง่าย สำหรับเด็กไทย -- งีบหลับ เพื่อเพิ่มผลิตภาพ -- The mozart effect -- โทรศัพท์มือถือในมือต่างชาติกับความมั่นคงของประเทศ -- วิกฤตภูเขาน้ำแข็งละลาย -- Plumpy'nut ช่วยชีวิตเด็ก -- เครื่องจับเท็จเขย่าโลก -- สินสอดไม่เสื่อมศักดิ์ -- ผู้ชายแพ้ท้อง สอนจริยธรรม -- คนโบราณทำอย่างไรไม่ให้ท้อง -- บินอย่างไรไม่ให้ติดเชื้อ -- อย่าตายไม่สวยด้วยชักกระตุก -- เรื่องของจิงโจ้ -- การขึ้นและลงของรอยสัก -- มันฝรั่ง เปลี่ยนประวัติศาสตร์โลก -- Gigayachts ของเล่นราคาแพง -- เรียนรู้จากชินคันเซ็น -- จักรยานต้องอยู่คู่กับมนุษย์ -- ใช้ทุนสำรองซื้อสมบัติโบราณของชาติคืน -- ชนบทยุโรปร้างคน -- Katrina เปิดเผย ความลับ ของชาติ -- เกาหลีใต้กับวิจัยลวงโลก -- ดินหายาก สร้างอำนาจให้จีน -- คนอินเดียกับทองคำ -- บูรไนกับ วันวานที่กำลังจะไม่หวาน -- อารยะขัดขืน -- Bono ผู้เป็น Rock star ที่ไม่ธรรมดา -- ลาก่อน Freddie laker |
![]() |
089.95911 ว296ค [2550] วรากรณ์ สามโกเศศ. (2550). เครื่องเคียงอาหารสมอง. กรุงเทพฯ : มติชน. สารบัญ : เพื่อนบ้าน -- Prem Rawat สันติสุข -- ค่าเช่าฐานทัพ -- ผมจะต้องการเงินไปทำไม -- ค่าขนศพ -- ไอ้ที่คุณพูดนั้นก็ยังต้องเข้าคิวอยู่ดีแหละค่ะ -- บุชตรวจสมอง -- บุชฝัน -- แก้บุชฝัน -- Dixon effect -- นักไต่เขา -- ซัดดัม -- องุ่นสายพันธุ์อเมริกัน -- Ours -- แบงก์พัน -- บัตรเครดิต -- Gene pool -- วัตรปฏิบัติของอภิมหาเศรษฐี -- ภัยใกล้ตัว -- Ice-cream sundae -- Gurkha guard -- เมืองสาวัตถี -- Female genital mutilation (FGM) -- ชา -- Ayers rock -- ล็อตเตอรี่ -- ต้นตาล -- Karakatoa -- Esperanto -- Leonardo da Vinci -- อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ -- นโปเลียน โบนาปาร์ต -- Hamilton Naki -- เหาที่อยู่ในตัวมนุษย์ -- เสริมหน้าอก -- นกอีมู -- คำว่า Salary ที่แปลว่าเงินเดือน -- เม่น -- สกัดกั้นระเบิดปรมาณู -- โรคเบาหวาน -- SARS -- ถุงยางอนามัยชาย -- Gladiators -- Alien-hand syndrome -- การนั่งสมาธิ -- Call a spade a spade -- Moron -- เกร็ดภาษาอังกฤษ -- Crocodile tears -- Less is more -- Bang-Kok -- Greenhorn -- เอช ไม่ใช่ เฮช -- Futsal |
![]() |
332.024 ว296ร [2549] สาระสังเขป : -
|
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2548). โฮ่งๆ หมาก็มีหัวใจ. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์. สารบัญ : ภาคแรกรู้จักหมา -- ก่อนจะเลือกเลี้ยงหมา -- หมาดูโทรทัศน์รู้เรื่องจริงหรือ -- ฟันและเหงือกกับหมา -- หมาดมกลิ่นได้ดีแค่ไหน -- ทำไมหมาเห่าแล้วกัดคน -- ภาคสองรู้ใจหมา -- การพัฒนาพฤติกรรมสัตว์ -- ศึกกินหมาในเกาหลี -- Pup for Peace -- เข้าใจหมาจากเสียงเห่า -- เรื่องของหมาที่น่าคิด
|
![]() |
330 ว296ส [2546] สาระสังเขป : -
|
![]() |
332.024 ว296ง [2547] สารบัญ : ชีวิตกับการเลือก -- ใช้เงินให้เป็น -- ออมให้ได้ผล -- ลงทุนให้ฉลาดพ้นกับดักหนี้อย่างไร
|
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2549). Words. กรุงเทพฯ : Openbooks. สาระสังเขป : คอลัมน์ “อาหารสมอง” ในมติชนสุดสัปดาห์มี “เครื่องเคียงอาหารสมอง” (เรื่องเล่าแปลกๆ สนุกๆ และให้ความรู้) และ “น้ำจิ้มอาหารสมอง” ซึ่งเป็นคำคมหรือสุภาษิต เป็นองค์ประกอบตลอดระยะเวลากว่า 10 ปีของคอลัมน์นี้ ซึ่งพยายามสร้างนวัตกรรมที่ในหนึ่งข้อเขียนมีถึง 3 รสชาติ คำคมหรือสุภาษิตโดยแท้จริงแล้วก็คือข้อความรวบยอดสรุปบทเรียนจากประสบการณ์ชีวิต และความจริงของชีวิตและโลก ท่านจะพบว่าบางข้อความกินใจอย่างลึกซึ้ง เพราะตรงกับสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้มาจากชีวิต จนต้องร้องอยู่ในใจว่า “ใช่เลยๆ” การอ่านคำคมจึงเท่ากับเป็นการเดินทางลัดแสวงหาปัญญา (wisdom) จากคนอื่น ด้วยต้นทุนที่ต่ำยิ่ง ไม่เสียเงินทองและเวลามากมาย สำคัญที่สุดก็คือไม่ต้องเสียน้ำตาและปวดใจสำหรับบทเรียนชีวิตบางบท บางคำคมบางสุภาษิตอาจเปลี่ยนแง่มุมของการมองชีวิตและการดำรงชีวิตของผู้อ่านได้ “น้ำจิ้มอาหารสมอง” ที่ปรากฏในเล่มนี้ คัดสรรมาจากบรรดาน้ำจิ้มใน “อาหารสมอง” โดยแบ่งออกเป็นหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวพันกับชีวิตในลักษณะต่างๆ เพื่อความสะดวกในการเดินทางค้นหาปัญญา |
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (254-). น้ำจิ้มอาหารสมอง [ไทย-อังกฤษ]. กรุงเทพฯ : มติชน. สาระสังเขป : -
|
![]() |
332.024 ว296ม [2555] สารบัญ : เงินทองไหลมา -- เพราะฉลาดใช้เงิน -- รู้อยู่รู้ออมในวันนี้ มั่งมีเงินทองในวันหน้า -- เจริญก้าวหน้าด้วยการลงทุน -- คิดกำจัดหนี้ ขอให้สมปรารถนา -- โชคดีตลอดไป ร่ำรวยตลอดชาติ
|
![]() |
วรากรณ์ สามโกเศศ. (2543). นิทานไทยเมื่อ 200 ปีก่อน. กรุงเทพฯ : ก่อกิจการพิมพ์. สาระสังเขป : -
|
650.095 ว296ว [2553] สารบัญ : เศรษฐกิจจีนแซงญีปุ่น / วรากรณ์ สามโกเศศ -- พระอาทิตย์ขึ้นทาง..ทิศตะวันตก / โอม หุวะนันทน์ -- 3 สูตรจากพุทธวิธีสำหรับการบริหารวิถีตะวันออก / อุทัย บุญประเสริฐ -- การพัฒนาสู้เศรษฐกิจแห่งความรู้ในบริบทของอาเซียน / เกษร ชินเมธีพิทักษ์ -- Asian englishes : hitory, identity, and power / Janpha Thadphoothon -- การสร้างแบรนด์สถาบันอุดมศึกษานานาชาติในตลาดเอเชีย / วลัย วัฒนะศิริ -- วิถีญี่ปุ่น : ระบบบริษัทและการจัดการธุรกิจ / ไพโรจน์ วงศ์วิภานนท์ -- โมโนซูคูริ : วัฒนธรรมการบริหารจัดการวิถีหลักของญี่ปุ่น / อุทัย บุญประเสริฐ -- การดำเนินงานด้านการวางแผนครอบครัว : กรณีศึกษาประเทศอินเดีย / ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ -- การพัฒนากำลังคนระดับกลางของไทยและบางประเทศที่คัดสรร / เยาวลักษณ์ ราชแพทยาคม -- การปฏิรูปการศึกษาเพื่อสุขภาวะ : ทางเลือกใหม่ของคนไทย / พิณสุดา สิริรังศรี -- การบริหารความเสี่ยงองค์กร : แนวทางที่ควรปฏิบัติในสังคมไทย / นิดา จิตร์น้อมรัตน์ -- Thai tax administration : self-assessment / Jirasak Rodjun -- Knowledge management in the context of management accounting discipline : perspectives from Thailand / Pattanant Petchchedchoo |
|
330 ว296ศ [2545] สาระสังเขป : -
|
|
339.523072 ว296ค [2528] สาระสังเขป : -
|
|
371.2 ว296ข [2553] สารบัญ : ปฏิรูปการศึกษาเพื่อสุขภาวะคนไทย : ทำไมต้องปฏิรูป -- สภาพปัจจุบันและปัญหา : ผลการศึกษาเฉพาะประเด็น -- กรณีศึกษา : บทเรียนแห่งความสำเร็จ -- บทเรียนการปฏิรูปการศึกษาต่างประเทศรู้เขารู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง -- ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาเพื่อสุขภาวะคนไทย : ทำอย่างไรให้สำเร็จ -- ยุทธศาสตร์ มาตรการ กลไกลและเงื่อนไขความสำเร็จยุทธศาสตร์ : การสร้างพลังขับเคลื่อนทั้งสังคมมาตรการ |
|
![]() |
089.95911 ว296อ [2554] สารบัญ : หนังสือ และ Rosetta Stone -- ประดิษฐกรรมยอดเยี่ยมของปี 2010 -- ภาพ "ป่า" ของโลก -- ถึงตกม้าไม่ตายก็มีบทเรียน -- เข้าใจฝูงชนเพื่อความปลอดภัย -- โพลน่าเชื่อถือแค่ไหน -- เซ็กซ์ ความรัก และสิ่งที่ควรจะเป็น -- คลอดเป็นทารกหญิงแท้จริงแสนลำบาก -- เรื่องราวของความกลัว -- การนอนหลับกับสุขภาพ -- สิทธิปฏิเสธการรักษาในวาระสุดท้ายของชีวิต -- Rare Earths กับชะตากรรมโลก -- ฟังกัสทองคือคำสาป -- เนยแข็งแถมหนอน -- หมีแพนด้าที่น่ารัก -- ชะตากรรมเรือลำน้อยกลางทะเลทราย -- สินค้าจีนแต่เมดอินอิตาลี -- ปีหมูทองทำร้ายพ่อแม่จีน -- เศรษฐีจีนใหม่รวยน่าเกลียด -- นักท่องเที่ยวอินเดียลุยไทย -- อินเดียขาดเพชฌฆาต -- ฆาตกรรมในดูไบ -- บริษัทช่วยสปอนเซอร์กองทัพเขมร -- การเมืองเยอรมนีและปริญญาเอก -- นาซีปล้นงานศิลปะ -- นาซีจอมโหดและประวัติศาสตร์ที่ถูกปิดบัง -- ปีศาจญี่ปุ่นจากสงครามโลก -- จับคดี "ข้อมูลภายใน" ให้อยู่หมัด -- ชะตากรรมของนักต้มตุ๋น -- เป็นประธานาธิบดีก็ติดคุกได้ -- Bill Gates ปราบโปลิโอ -- Kieron Williamson อัจฉริยะเด็กด้านวาดภาพผู้โด่งดัง -- อำลาไสบาบา -- ลาก่อนมาดามยู -- David Thompson พ่อครัวหัวป่าก็ฝรั่ง |
![]() |
089.95911 ว296ล [2554] สารบัญ : Crowdsource คำฮิตปี 2009 -- หลุมฝังศพไฮเทค -- กระเป๋ามีล้อเดินทางไกล -- ดินสอนั้นคลาสสิค -- Jabulani และฟุตบอลโลก -- รู้จักระเบิด C-4 สิ่งประดิษฐ์ทำลายล้าง -- แรงรูงใจกับไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ -- ประเทศรวยขึ้น ครอบครัวใหญ่ขึ้น -- คนมีโชคเพราะโชคดีหรือ? -- ความเมตตามาจากไหน -- ความยาวของนิ้วบอกความความลับ -- เรียนรู้เรื่องรส -- คิดเป็น จากตัวเลข -- การสอนคณิตศาสตร์ในโรงเรียนญี่ปุ่น -- มาด ดีเป็นศรีแก่ตัว -- 5 ลักษณะจิตสำหรับอนาคต -- ออกกำลัง-นั่งนานๆ-โรคหัวใจ -- พันธุกรรมดีก็อาจมีปัญหา -- เรื่องไม่รู้เกี่ยวกับปลา Salmon -- Tuatara ฟอสซิลมีชีวิต -- อียิปต์เลียนแบบตูนิเชีย -- รุ่งและร่วงในพริบตาของนายกฯ ออสเตรเลีย -- ฟุตบอลโลกที่แอฟริกาใต้กับอาชญากรรม -- มอนเตเนโกร สวรรค์แห่งการแจกสัญชาติ -- คนโปแลนด์สามัคคีเพราะความตาย -- Expo เซี่ยงไฮ้มีเหตุผลที่ทำให้ยิ่งใหญ่ -- ข้อคิดจากรถติดครั้งใหญ่ในจีน -- ฆ่าโหดหมู่ Ampatuan -- อภิมหาเศรษฐีหญิงเขย่าการเมืองฝรั่งเศส -- เรียวมะ ซามูไรปฏิวัติ -- ลี กวนยู ในวัย 87 ปี -- ทายาทเกาหลีเหนือคนใหม่ -- The King's Speech ของกษัตริย์ติดอ่าง |
![]() |
089.95911 ว296ก [2558] สารบัญ : เทคโนโลยี 3D -- Gutenberg เปลี่ยนโลกยิ่งกว่าอินเทอร์เน็ต -- โลกใหม่เขาคิดกันใหม่ -- รู้ทันใจตนเอง -- โลกของคน 7 พันล้านคน -- Maori ยังมีปัญหา -- เมืองหลวงขุดทองเถื่อนของโลก -- เศรษฐศาสตร์ปราบโจรสลัด -- คนอินเดียเลือกวัวเหนือเงิน -- ศึกสองยักษ์นักเศรษฐศาสตร์อินเดียระดับโลก -- Trilemma หนักหนากว่า Dilemma -- โลกนี้ไม่มีอีเมลฟรี -- เบโธเฟนญี่ปุ่นลวงโลก -- ปวดหัวกับศิลปวัตถุปลอม -- Adam คืนสู่ความงดงาม -- หอไอเฟลยังอยู่ยืนยง -- พบขุมทรัพย์ภาพเขียนของนาซี -- เกาหลีกับความรู้สึกดี ๆ อย่าลืมไต้หวัน -- ถ้าไม่มี "ลี" ก็อาจไม่มี "จีนยุคใหม่" -- Mandela บุรุษผู้ยิ่งใหญ่ -- สมบัติลับของปูติน -- คอร์รัปชั่นเชิงอำนาจของอาร์เจนตินา -- ฆาตกรชื่อเก้าอี้ -- วิ่งมาราธอนจุดประกายชีวิต -- ออสเตรเลียลุยปลูกฝิ่น -- ซูเปอร์ฟูดชื่อ Maca -- เรื่องเล่าของราเม็ง -- น้ำผึ้งฤาถึงจุดจบ -- สัตว์ก็มีหัวใจ -- "สัตว์เลี้ยง" เก่าแก่สุดของมนุษย์ -- Dunbar's Number -- Sharecations กำลังระบาดในโลก -- การให้และความรัก |